The Basic Principles Of จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม

ร.บ.คู่ชีวิต ไม่ครอบคลุมการเข้าถึงสวัสดิการและสิทธิประโยชน์ของคู่ชีวิต

ฉัตรชัย เอมราช ทนายความและที่ปรึกษา กมธ. วิสามัญพิจารณาร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียมของสภาผู้แทนราษฎร กล่าวกับบีบีซีไทยก่อนหน้านี้ว่า ข้อความใน พ.ร.บ. คุ้มครองเด็กที่เกิดโดยอาศัยเทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ทางการแพทย์ ที่ใช้บังคับเฉพาะคนที่ไม่อาจมีบุตรสืบสายโลหิตร่วมกันได้ตามธรรมชาติ ยังคงมีการยึดโยงกับความเป็นชายและหญิง และสถานะของการเป็นสามีและภริยา เนื่องจากบริบททางกฎหมายและสังคมในช่วงที่มีการยกร่าง พ.

ครอบครัวหลากหลายทางเพศ ความหวังถึง กม.แต่งงานเพศเดียวกันในไทย

อ่านเกี่ยวกับแนวทางของเราในการติดต่อกับลิงก์ภายนอก

ไฟไหม้รถบัสนักเรียนหน้าเซียร์รังสิต เรารู้อะไรแล้วบ้าง

ขณะที่ชวินโรจน์ ชี้ว่าเมื่อดูเจตจำนงทางการเมืองของสภาผู้แทนราษฎร เห็นว่า ความท้าทายไม่ใช่เรื่องการผ่านหรือไม่ผ่านกฎหมาย เนื่องจากท่าทีของฟากรัฐบาล ร่างกฎหมายนี้น่าจะผ่านแน่นอน แต่ความท้าทายก็คือ ร่างกฎหมายตัวหลักจะถูกพัฒนาให้เป็นร่างที่ดีที่สุดหรือไม่ จากกรรมาธิการในชั้นต่อไป

สถานะบุพการี-การรับบุตรบุญธรรม เป็นอย่างไร ในร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม

"เราไม่ถูกยอมรับว่าเป็นครอบครัว" ทำไมสมรสเท่าเทียมจึงเกิดยากในญี่ปุ่น

ขั้นตอนพิจารณาร่างกฎหมาย สมรสเท่าเทียม - สมรสคู่ชีวิต

การจัดการทรัพย์สินระหว่างคู่สมรสที่ทำมาหาได้ร่วมกันหรือดูแลผลประโยชน์จากทรัพย์สิน และการจัดการหนี้สินร่วมกัน

คนแต่งงานกันตามกฎหมายเดิม จะได้รับสถานะทางกฎหมายที่มีความเชื่อมโยงกันเหมือนญาติ ดังนั้นการแต่งงานของกลุ่มหลากหลายทางเพศ ที่เดิมทีไม่มีกฎหมายรองรับ แม้จะอยู่ด้วยกันมาอย่างยาวนาน แต่หลายครั้งกลับไม่สามารถจัดการสิ่งต่าง ๆ ให้ได้ อาทิ การดูแลตัดสินใจเรื่องทางการแพทย์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการเบิกรักษาพยาบาล การตัดสินใจสำคัญทางการแพทย์ในกรณีที่คน ๆ นั้นไม่สามารถตัดสินใจด้วยตัวเองได้ หรือกรณีที่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเสียชีวิต อีกฝ่ายก็จะมีสิทธิในการจัดการศพได้ด้วยนั่นเอง

นัยนา สุภาพึ่ง กมธ. เสียงข้างน้อยจากภาคประชาชน กล่าวว่า หากไม่แก้ไขเรื่องนี้ จะทำให้กฎหมายฉบับนี้ไม่ใช่สมรสเท่าเทียม เป็นเพียงกฎหมายที่รับรองสิทธิให้เพศหลากหลายสมรสกันได้ แต่ไม่รับรองสถานะทางสังคมและสถานะทางกฎหมายของครอบครัวของคู่สมรสเพศหลากหลาย

การลงมติครั้งนี้ส่งผลให้ไทยกลายเป็นประเทศแรกในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีกฎหมายแต่งงานของบุคคลเพศเดียวกัน

นายมาร์ก กูดดิง เอกอัครราชทูตอังกฤษประจำประเทศไทย ร่วมแสดงความยินดี โดยระบุว่า จดทะเบียนสมรสเท่าเทียม “ผมขอแสดงความยินดีที่รัฐสภาไทยผ่านร่างกฎหมายสมรสเท่าเทียม” พร้อมย้ำว่านี่เป็นกฎหมายที่สำคัญสำหรับสิทธิมนุษยชนและความเท่าเทียม

Leave a Reply

Your email address will not be published. Required fields are marked *